13 June 2012

สายการบินเรียกร้องให้สหภาพยุโรปคลี่คลายความตรึงเครียดจากมาตรการซื้อขายคาร์บอนเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก


รายงานข่าวจากสำนักข่าวรอยเตอร์ กรุงปักกิ่ง   – เมื่อวันจันทร์ที่ 11 มิถุนายน 2012 สายการบินทั่วโลกนำโดยจีน, สหรัฐอเมริกาและอินเดียซึ่งเป็นกลุ่มประเทศที่คัดค้านแผนการของสหภาพยุโรปที่จะบังคับผู้ให้บริการเข้าร่วมโครงการซื้อขายคาร์บอน เรียกร้องให้สหภาพยุโรปคลี่คลายความตรึงเครียดต่อนโยบายปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับนานาชาติ


Europe has angered trading partners with its plan to make airlines cut pollution by levying a fee based on the amount of carbon emissions calculated for whole flights, not just the portion over Europe - a measure its critics regard as interference with their national airspace.ยุโรปก่อความขุ่นเคืองให้แก่ประเทศคู่ค้าจากแผนการที่จะให้สายการบินลดมลพิษตามเกณฑ์ค่าธรรมเนียมตามปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนซึ่งคำนวณตลอดเที่ยวบินมิได้เฉพาะในส่วนที่บินผ่านน่านฟ้าของยุโรปเท่านั้น - มาตรการดังกล่าวได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นการใช้กฎหมายแทรกแซงอธิปไตยในเขตน่านฟ้านานาชาติของพวกเขา 

The head of the International Air Transport Association (IATA) said all parties shared the view that a global agreement was needed to head off the threat of a trade war over the EU's Emissions Trading Scheme (ETS).
หัวหน้าสมาคมขนส่งทางอากาศนานาชาติ (IATA) กล่าวว่าทุกฝ่ายมีมุมมองร่วมกันที่จะหยุดยั้งข้อตกลงระดับโลกที่เป็นภัยคุกคามต่อสงครามการค้ามากกว่าโครงการซื้อขายคาร์บอนของสหภาพยุโรป (EU ETS) 


"Europe seems more committed to implementing its ETS unilaterally than to sincerely negotiating a multilateral agreement," IATA director general Tony Tyler told a gathering of 240 airlines in the Chinese capital. "ยุโรปดูเหมือนว่ามุ่งมั่นที่จะดำเนินการด้าน ETS เพียงฝ่ายเดียว มากกว่าที่จะแสดงความจริงใจในการเจรจาข้อตกลงแบบพหุภาคี" อธิบดีโทนี่ไทเลอร์แห่ง IATA กล่าวต่อผู้ชุมนุมจากสายการบิน 240 สายการบินในเมืองหลวงของจีน "For Europe's international counterparts it's like being asked to negotiate with a gun to their head," he added in an opening speech to the group's annual meeting. "ในขณะที่ประเทศคู่ค้าถูกบังคับให้เจรจาโดยมีปืนจ่อที่ศีรษะ" เขากล่าวในสุนทรพจน์เปิดการประชุมประจำปีของกลุ่ม

"Sustainability should unite the world with common purpose, not divide it with affronts to sovereignty that risk a trade war, a war that nobody wants and from which no winner can emerge." "การพัฒนาอย่างยั่งยืนควรรวมโลกเข้าด้วยกันเป็นหนึ่งเดียวด้วยวัตถุประสงค์ร่วมกัน ไม่แบ่งแยกและก่อให้เกิดความบาดหมางในอำนาจอธิปไตยที่เสี่ยงต่อการเกิดสงครามทางการค้า สงครามที่ไม่มีใครต้องการและไม่มีใครเป็นผู้ชนะ".

China and India have ordered airlines not to cooperate with the scheme, raising the prospect of retaliation by the EU. จีนและอินเดียได้สั่งสายการบินของตนไม่ให้ความร่วมมือกับโครงการดังกล่าวเพื่อเพิ่มโอกาสในการตอบโต้กับสหภาพยุโรป



"The onus is now on Europe to seize the moment, take a credible action to defuse the situation and get on with finding the global solution that everybody is hoping for," Tyler said. "เป็นภาระความรับผิดชอบของยุโรปที่จะต้องเลือกวิธีดำเนินการที่น่าเชื่อถือเพื่อคลี่คลายความตรึงเครียดของสถานการณ์และหาวิธีการแก้ปัญหาระดับโลกตามที่ทุกคนคาดหวัง" ไทเลอร์กล่าว

The EU says its plans are necessary as a way to meet international targets to reduce pollution, and that it was forced to act alone as a result of there having been little progress made towards reaching a global deal. ในขณะที่สหภาพยุโรปกล่าวว่าแผนการดังกล่าวเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อบรรลุเป้าหมายในการลดมลพิษของนานาชาติและเป็นเพียงมาตรการเดียวที่บังคับใช้เนื่องด้วยมีความคืบหน้าน้อยมากในการดำเนินการตามข้อตกลงระดับโลก

The airline industry fears being caught up in a trade war which would further dent profits that IATA says could be erased by a worsening of the European debt crisis. ธุรกิจสายการบินเกรงว่าจะถูกจับเป็นตัวประกันในสงครามการค้าซึ่งมีผลกำไรน้อยมากและไม่อาจถูกลบได้จากการถดถอยของวิกฤตหนี้ยุโรป

No comments:

Post a Comment