28 September 2011

Announcement and Call for Papers

Dear Colleague,

The Tenth International Conference on 
Nuclear Analytical Methods in the Life Sciences (NAMLS10) 
will take place on 15-20 January 2012 in Bangkok, Thailand.

The purpose of this conference is to discuss the development of 
nuclear and radiation techniques useful in the life sciences. 
The fields of interest include biology, biochemistry, medicine, 
agriculture, food sciences, plant sciences, nutrition and environmental sciences.

Conference topics shall preferably include, but not limited to
instrumental (INAA) and radiochemical (RNAA) neutron activation analysis, 
particle-induced x-ray emission (PIXE), 
energy-dispersive x-ray fluorescence (ED-XRF), 
inductively-coupled plasma mass-spectrometry (ICP-MS), as well as metrology.

Please check out our website http://www.namls10.com for up-to-date information. 
We are looking forward to your attendance.

We would highly appreciate it if you can distribute this message
to colleagues who may be interested in attending this conference.
Best regards,
NAMLS10 Local committee
Thailand

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

The 10th International Conference on
Nuclear Analytical Methods in the Life Sciences (NAMLS-10)

About the conference:
15 - 20 January 2012, Bangkok, Thailand

Paper publications:
Selected papers will be published in the Journal of Radioanalytical and Nuclear Chemistry (JRNC).

Important dates:
15 Oct 2011: Early registration deadline
31 Oct 2011: Abstract submission deadline
31 Oct 2011: Young Scientist Award application deadline
15 Nov 2011: Notification of abstract acceptance


26 September 2011

3rd International Conference on Clean Energy and Climate Change, 27-31 Oct 2011

ได้รับแจ้งข่าวมา จึงบอกต่อไป....ผู้ที่สนใจเข้าร่วมการประชุมดังกล่าว สามารถอ่านรายละเอียดได้ตามปรากฎข้างล่างนี้

Dear Colleagues,

The International Conference on Clean Energy and Climate Change,slated for 27-31 October,2011 is the 3rd annual conference focused on understanding the nature of individual and organizational behavior and decision making, and using that knowledge to accelerate our transition to an energy-efficient and low carbon economy. It will build on the overwhelming success of previous conferences, at which more than 700 participants discussed successful policy and program strategies, shared important research findings, and built dynamic new networks and collaborations.

The Conference is convened by the Working Group on Climate Change - 210 Upper Richmond Rd,Wandsworth, London SW15,UK.Phone: +44 702 405 3910, +44 702 405 9020.
Call for Paper(s):The Organizing Committee requests proposals for presentations from policymakers, businesses, social scientists, researchers, media specialists, marketers, energy experts, program designers, implementers, and evaluators.

We invite proposals for two types of presentations:
1.Oral Presentations (15-20 minute formal presentations and slides)
2.Poster Presentations (informal presentations)

Topic Areas: Abstracts must be submitted online on one of the following or closest match categories:

Renewable and Green Energy Resources and Technologies
Biomass, Wind and Solar Energy Resources and Technologies
Alternative Fuels
Market and Finance of RES
Fuel Cells and Hydrogen Energy
Energy Storage Techniques
Green Buildings

Advanced Energy Systems
Energy Process and System Simulation, Modelling and Optimization
Advanced Power Generation, Transmission and Automation
Distributed Energy Systems
Polygeneration Systems
Energy and Automation
Energy Efficiency Improvement
Energy Conversion and Management
Thermodynamic and Energy optimization
Energy Education

Energy, Environment and Sustainable Development
Climate Change policy
Climate Change and the Oceans
Greenhouse Gases Mitigation Technologies
Energy security,Policy,Economics, and Planning
Pollutant Emission Control and Abatement
Extreme Events and Impacts Assessment
Agricultural and Forestry Resources Management
Water Resources Management
Case studies.

Proposal Submission: Interested presenters should submit an abstract of less than 250 words,summarizing the proposed presentation and a short biography; email: icceccconf@yahoo.co.uk or fax on: +44 702 406 1105,+44 702 405 8435 by 25th September, 2011. Submissions will be judged on relevance to conference themes, clarity of thought, data/documented results, creativity, fit in conference program and other criteria. Deadline for notification of acceptance is 2nd October, 2011.

Conference Registration: All presenters are expected to register online by 9th October, 2011. Registration is free of charge for delegates from developing countries. Also free flight ticket, travel insurance, visa fees and per diem to be provided for all paper presenters and participating delegates.

For more details on online registration, abstract submission, full papers and power point presentation, accommodation, flight, and venue, please email: icceccconf@yahoo.co.uk or fax on; +44 702 406 1105, +44 702 405 9045.

Important dates:
25 September 2011 Deadline for Abstract Submission
2 October 2011 Notification of Acceptance
9 October 2011 Deadline for Full Paper submission & Early Registration
27-31 October Conference Dates.

I will furnish you with our web link on receipt of your interest to participate to this symposium.

We look forward to seeing your delegation at the conference.

Dr.(Mrs.) Dania Reid
Organizing Secretary
210 Upper Richmond Rd,Wandsworth, London SW15,UK.
Phone: +44 702 405 3910, +44 702 405 9020
Fax: +44 702 406 1105, +44 702 405 9045
Email:reid_dania@yahoo.co.uk

Junior Research Fellowship Program in France

ข่าวสำหรับนักวิจัยไทยรุ่นใหม่ไฟแรงที่กำลังมองหาแหล่งเงินทุนสำหรับทำวิจัยในต่างประเทศระยะสั้น (2-6 เดือน) สถานทูตฝรั่งเศสประจำประเทศไทย (AMBASSADE DE FRANCE EN THAÏLANDE Service de Coopération et d’Action Culturelle) แจ้งข่าวว่าขณะนี้รัฐบาลฝรั่งเศสกำลังประกาศรับสมัครนักวิจัยไปร่วมงานวิจัย ผู้ที่สนใจสามารถอ่านรายละเอียดได้ตามประกาศ ดังนี้
CALL FOR CANDIDATES
JUNIOR RESEARCH FELLOWSHIP PROGRAM
 
SUBMISSION BEFORE: December 18
th, 2011
1. Program Overview & Eligibility Requirements
The Junior Research Fellowship Program supports Thai post doctorants graduated in 2007 or after,
who intend to spend two (2) to six (6) months scientific stay in a laboratory in France. All fields of
research are concerned, only the excellence of the project is considered.
2. Selection Process
In order to identify the successful candidates, the selection committee will consider:
The scientific and technical quality of the project
The methodological rigour of the project
The long term scientific and/or technical benefits
The adequacy with the candidate background & knowledge
3. Selection Schedule
Deadline for Submission: December 18
th, 2011
Results at the end of January 2012
Departures can be from February 15
Return trip has to be before December 31
th, 2012.st, 2012.
4. Documents to be provided:
-
The filled and signed application form
-
Passport Photocopy
-
Up-to-date résumé stating the entire curriculum (including list of publications)
-
Cover letter explaining motivations and interests in the project
-
Copies of academic diploma
-
Detailed description of the research project to be conducted in France
-
Letter from the hosting laboratory in France
Optional documents :
-
Academic and/or professional recommendations
-
English (TOEFL, TOEIC, etc.)
Language proficiency certificates: French (TCF, DELF, DALF, academic degree,…) and/or
Application must be sent by post (with the supporting documents) to:
French Embassy – SCAC - CSU
29 Sathorn Tai Road, Bangkok 10120
BEFORE December 18
th, 2011
If you need more information, contact: Sara Demesse
sara.demesse@diplomatie.gouv.fr
Liberté
Égalité Fraterni té
R
É P U B L IQ U E FR A N Ç A I S E
AMBASSADE DE FRANCE EN THAÏLANDE
Service de Coopération et d’Action Culturelle

19 September 2011

รถไฟเยอรมันขับเคลื่อนโดยใช้พลังงานทดแทน ไร้การปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2-free) เพื่อให้ลูกค้ามีความสุข

              สำนักข่าวรอยเตอร์รายงานเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2554 นี้ว่า ความต้องการของผู้บริโภคเป็นเหตุผลเดียวที่ การรถไฟแห่งประเทศเยอรมนี ต้องการใช้พลังงานทดแทนจากพลังงานลม น้ำ และแสงอาทิตย์ เป็นแหล่งพลังงานของการเดินรถไฟ


         การรถไฟแห่งประเทศเยอรมนี คาดว่าจะสามารถเพิ่มการนำเอาพลังงานจาก พลังงานลม น้ำ หรือพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ในการเดินรถไฟ จากปัจจุบัน 20 เปอร์เซนต์เพิ่มเป็น 28 เปอร์เซนต์ภายในปี 2014 เพื่อให้ปลอดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ภายในปี 2050
          Hans-Juergen Witschke หัวหน้าผู้บริหารระดับสูงของพลังงานการรถไฟ เยอรมนี กล่าวว่า ผู้บริโภคได้แสดงเจตจำนงที่จะให้เราออกจากการใช้พลังงานนิวเคลียร์แล้วเปลี่ยนมาใช้พลังงานทดแทนมากยิ่งขึ้น เจตจำนงที่ต้องการใช้พลังงานสีเขียว หรือพลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมีขึ้นก่อนที่จะเกิดอุบัติภัยกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ เมือง ฟูกุชิมา ประเทศญึ่ปุ่นในเดือนมีนาคม 2554 และทันที่ที่เกิดเหตุ ก็เริ่มมีการขับเคลื่อนการใช้พลังงานทดแทนทันที
          รัฐบาลเยอรมนีจะระงับการพัฒนาด้านพลังงานนิวเคลียร์ และได้ปิดโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แล้วจำนวน 8 แห่งและที่เหลืออีก 9 แห่งจะต้องปิดลงให้หมดภายในปี 2022 นี้ ก่อนหน้านี้การเดินรถไฟได้อาศัยพลังงานจากนิวเคลียร์มากที่สุด
          Hans-Juergen Witschke กล่าวว่า การป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นประเด็นที่กำลังเป็นที่สนใจของลูกค้า การใช้พลังงานทดแทนอาจจะแพงกว่าเล็กน้อย แต่ก็สามารถที่จะเลือกใช้พลังงานทดแทนจากแหล่งต่างๆร่วมกันอย่างชาญฉลาดในช่วงเวลาที่เหมาะสม เรามั่นใจว่าการตัดหรือไม่ให้มีการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จะทำให้เราได้เปรียบในเรื่องความสามารถในการแข่งขัน
          ภายในปี 2014 คาดว่าจะใช้พลังงานทดแทนประมาณ 1 ใน 3 ของกระแสไฟฟ้ากับการเดินรถไฟที่วิ่งระยะไกลในประเทศ
 ประเทศเยอรมนีมีรถไฟจำนวนมากวิ่งทั้งในตัวเมือง และในเขตเมืองต่างๆ ที่เมืองฮัมบูร์กและเมืองซาร์ลันด์ ได้ใช้พลังงานทดแทนทั้ง 100 เปอร์เซ็นต์ ในการเดินรถไฟ



          การเดินรถไฟในแต่ละปีจะใช้ไฟฟ้าถึง 12 TWh ซึ่งมากพอกับการใช้ไฟฟ้าของ 3.2 ล้านครัวเรือนในเมืองเบอร์ลิน  การรถไฟเยอรมนีใช้ไฟฟ้าถึง 2 เปอร์เซ็นต์ของจำนวนกระแสไฟฟ้าที่ใช้ในเยอรมนีทั้งหมด เฉพาะรถไฟความเร็วสูงที่วิ่งระหว่างเมืองแฟรงเฟริตกับเบอร์ลิน ก็ใช้ไฟฟ้าถึง 4800 kw/h ซึ่งเพียงพอกับการใช้สำหรับ 4 ครอบครัวตลอดทั้งปี
          เยอรมนีเป็นผู้นำการใช้พลังงานหมุนเวียนของโลก พลังงาน 17 เปอร์เซ็นต์มาจากพลังงานทดแทน ซึ่งเพิ่มขึ้นประมาณ 6 เปอร์เซ็นต์จากปี 2000
Hans-Juergen Witschke กล่าวว่า “รัฐบาลเยอรมนีมีจุดมุ่งหมายที่จะเพิ่มส่วนแบ่งการนำพลังงานทดแทนมาใช้ให้มากขึ้นถึง 35 เปอร์เซ็นต์ภายในปี 2020 และ 80 เปอร์เซ็นต์ภายในปี 2050 ขณะที่การรถไฟอย่างเดียวต้องใช้พลังงานถึง 30-40 เปอร์เซนต์ภายในปี 2050 และอาจจะถึง 100 เปอร์เซนต์ภายในกลางศตวรรษนี้  ผู้โดยสารและคู่ค้าทางธุรกิจอย่างบริษัท Audi สมัครใจที่จะจ่ายค่าบริการพิเศษของการขนส่งแบบปลอดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2-free) สำหรับการใช้พลังงานสีเขียว และยังกล่าวอีกว่า ความต้องการผลผลิตที่ปลอดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีสูงกว่าที่คาดไว้เสียอีกซึ่งหากเป็นเช่นนี้ต่อไป คาดว่าการใช้พลังงานทดแทนจะขึ้นไปถึงจุดเป้าหมายที่วางไว้เกิน 40 เปอร์เซ็นต์ภายในปี 2020  และเพื่อให้ไปถึงเป้าหมายนี้ได้ การรถไฟได้ใช้พลังงานลมจาก อุทยานลม หรือ wind park แล้วสองแห่งที่เมืองบรันเดนบู (Brandenburg) และในเดือนกรกฏคมนี้ได้เซ็นต์สัญญาร่วมกับบริษัทผู้ผลิตไฟฟ้า RWE เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าจำนวน 900 kw/h ต่อปี จากโรงไฟฟ้าพลังน้ำจำนวน 14 แห่ง ซึ่งเพียงพอสำหรับ 250,000 ครัวเรือน RWE จะจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับการรถไฟตลอด 15 ปี ซึ่งคิดเป็น 8 เปอร์เซ็นต์ของความต้องการของการรถไฟ
 มีข้อกังขาเกี่ยวกับความเชื่อมั่นตลอดจนความจุของการเก็บพลังงานทดแทน Witschke กล่าวว่า เรากำลังเรียนรู้จากการใช้พลังงานลม เราเจอคำถามเดียวกันว่าจะทำอย่างไรหากไม่มีลม  จากประสบการณ์เรามีลมมากเกินไป แต่หากเครื่องปั่นกังหันลมไม่ทำงานจะเป็นปัญหามากกว่ามีลมไม่พอ
Witschke ได้กล่าวอีกว่า จะมีผลกระทบทางสัญญลักษณ์ จากการที่การรถไฟซึ่งเป็นผู้ใช้ไฟฟ้ารายใหญ่ที่สุดของประเทศ ซึ่งถือว่าเป็นก้าวใหญ่กับการใช้พลังงานทดแทน เรายังเป็นหนึ่งในผู้ใช้ไฟฟ้ารายใหญ่ที่สุดในแถบยุโรปซึ่งย่อมเป็นที่สังเกตของคนทั่วไป”  
 นอกจากนี้สำนักข่าวรอยเตอร์ยังรายงาน (เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2554) อีกว่าVolkswagen ผลิตรถปลอดคาร์บอนไดออกไซด์ สู่ท้องถนน โดยอ้างถึงรายงานข่าวจาก Financial Time  เมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมาว่า ภายในอีกสองสัปดาห์นี้ บริษัท โฟล์คสวาเกน (Volkswagen) จะเปิดตัวรถที่นั่งเดี่ยว หรือมีเพียงหนึ่งที่นั่ง เป็นสิ่งแสดงให้เห็นถึงแนวคิดและความทะเยอทะยานของผู้ผลิตรถยนต์ ในการสร้างยานพาหนะที่ไม่ก่อให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือไม่มีการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2- free)  Jurgen Leohold หัวหน้าฝ่ายวิจัยของบริษัท  กล่าวว่า มันเป็นการเคลื่อนไหวแบบใหม่ และเป็นฟิสิกส์ หากคุณจำกัดรถยนต์สำหรับคนๆเดียว คุณก็จะสามารถออกแบบให้มันเล็กลงและน้ำหนักเบาลงได้ด้วย และก็จะใช้พลังงานน้อยลงในการขนส่งคนเพียงคนเดียว นั่นหมายถึงมันจะมีผลดีกับปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ และประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิง
ผู้ผลิตรถยนต์ในเยอรมนีมีแผนที่จะเสนอชุดบริการเต็มรูปแบบสำหรับลูกค้าที่ใช้รถไฟฟ้า โดยรวมกับการขายพลังงานที่ได้จากแหล่งพลังงานทดแทน และมีแผนที่จะสร้างโรงไฟฟ้าพลังน้ำอีกสองแห่งในประเทศบราซิล
Jurgen Leohold. กล่าวอีกว่า การนับค่า คาร์บอนไดออกไซด์จากรถยนต์ ขึ้นกับว่าไฟฟ้าที่คุณใส่เข้าไปในแบตเตอรี หากมันได้มาจากพลังงานทดแทน ค่าคาร์บอนไดออกไซด์ก็จะเป็นศูนย์

นวัตกรรม พลาสติกสีเขียว (Green Plastic) พลาสติกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

           ผลจากการศึกษาล่าสุดเปิดเผยว่า โปรตีนหางนม (Whey Protein)  ซึ่งเป็นผลผลิตพลอยได้จากการผลิตเนยแข็ง สามารถทำเป็นฟิล์มพลาสติก ซึ่งสามารถ กันความชื้น และออกซิเจนได้ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่า ฟิล์มพลาสติกโดยทั่วไป ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อนำไปสู่การผลิตเชิงพาณิชย์ต่อไป 


                Elodie Bugnicourt  จากสถาบันวิจัยใน บลาเซียโลนา กล่าวว่า เราพัฒนาพลาสติกชีวภาพใหม่ จาก โปรตีนหางนม สำหรับทำเป็นบรรจุภัณฑ์อาหารที่รีไซเคิลได้  หางนม เป็นผลผลิตพลอยได้จากการผลิตเนยแข็ง  ส่วนทีเป็นเนื้อแข็ง 7 เปอร์เซนต์ จะอุดมไปด้วยโปรตีน นำมาผลิตเป็นชั้นๆ เป็นพลาสติกชีวภาพใหม่ของเรา
          เนื่องจากฟิล์มพลาสติกชนิดใหม่นี้ ทำมาจากโปรตีนหางนมจึงสามารถย่อยสลายทางชีวภาพหรือถูกย่อยสลายในธรรมชาติได้ ในแต่ละปีโรงงานผลิตเนยแข็งในยุโรปจะผลิตหางนมได้ประมาณ 50 ล้านตัน บางส่วนนำไปใช้เป็นอาหารเสริมโปรตีนสำหรับร่างกาย แต่ประมาณ 40 เปอร์เซนต์จะถูกทิ้งไป
ผลงานการวิจัยนี้เป็นความร่วมมือของกลุ่มบริษัทเล็กๆ หลายบริษัทในแถบคาตาโลเนีย ประเทศสเปน ภายใต้ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสหภาพยุโรป เพื่อนำผลผลิตพลอยได้นี้มาผลิตเป็นวัสดุใหม่ขึ้นมา   
โปรตีนหางนมบริสุทธ์ได้จากการนำโปรตีนหางนมที่ได้จากการผลิตเนยแข็ง มากรองและทำให้แห้งแบบพ่นฝอย  จากนั้นนำมาทำเป็นชั้นบางๆหลายๆชั้น เพื่อผลิตเป็นฟิล์มพลาสติกที่มีคุณสมบัติสามารถกันอากาศและน้ำได้เหมาะสำหรับนำมาใช้เป็นบรรจุภัณฑ์อาหาร  ซึ่งรีไซเคิลได้ง่าย โดย Klaus Noller หัวหน้าภาควิชาพัฒนาวัสดุศาสตร์ วิศวกรรมกระบวนการผลิตและวัสดุบรรจุภัณฑ์ จากสถาบัน Fraunhofer ประเทศเยอรมัน อธิบายว่า เนื่องจากโปรตีนหางนม สามารถละลายในน้ำได้อย่างง่ายดายโดยมีเอ็นไซม์เป็นตัวช่วย ชั้นของฟิล์มจะแยกออกจากกันได้โดยง่าย ช่วยให้การทำรีไซเคิลง่ายมากขึ้น  ซึ่งต่างจากพลาสติกโดยทั่วไปที่ทำมาจากวัสดุสิ้นเปลือง ต้องใช้เวลานานหลายร้อยปีกว่าจะย่อยสลายได้
          คาดหวังว่าเทคโนโลยีใหม่นี้จะนำไปสู่การผลิตในระดับอุตสาหกรรมภายใน สอง-สามปีข้างหน้า เพื่อผลิตฟิล์มพลาสติกบรรจุภัณฑ์อาหารที่ย่อยสลายได้ในทางชีวภาพหรือถูกย่อยสลายในธรรมชาติ
                               
          Elodie Bugnicourt ยังกล่าวเสริมอีกว่า โครงการนี้เป็นการทำงานร่วมกันของหุ้นส่วนทั้งหมด 14 แห่งทั้ง ผู้ผลิต นักวิจัย ผู้ชำนาญการจากพลาสติก บรรจุภัณฑ์ การรีไซเคิล และวิศวกรรม เพื่อทำให้โครงการนี้สำเร็จได้
แหล่งข้อมูล : Star Project; what’s new on European Commission on Research & Innovation ,19 Auguest 2011

16 September 2011

ค้นพบยีนที่เป็นสาเหตุอาการปวดแบบเรื้อรัง: HCN2

          สำนักข่าวรอยเตอร์รายงานว่านักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษค้นพบยีนที่รับผิดชอบต่อการควบคุมอาการปวดแบบเรื้อรัง ที่มีชื่อเรียกว่า HCN2 การค้นพบครั้งนี้จะช่วยให้นักวิจัยยาค้นพบยาแก้ปวดซึ่งออกฤทธิ์ได้เฉพาะเจาะจงและมีประสิทธิภาพมากกว่ายาที่มีอยู่เดิม
นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัย เคมบริดจ์กล่าวว่า หากสามารถออกแบบยาที่สามารถปิดกั้นการสร้างโปรตีนของยีนได้ ก็จะสามารถรักษาอาการปวดที่เรียกว่า อาการปวดปลายประสาท (neuropathic pain) อันเนื่องจากความเสียหายของเส้นประสาทและบ่อยครั้งยากที่จะควบคุมอาการปวดด้วยยาที่มีอยู่ในปัจจุบัน
ปีเตอร์ แมคนอกตัน (Peter McNaughton) จากหน่วยเภสัชวิทยาแห่ง มหาวิทยาลัย เคมบริดจ์ ผู้ทำการศึกษาเรื่องนี้ กล่าวว่า ผู้คนได้รับความทุกข์ทรมานจากอาการปวดปลายประสาท และบ่อยครั้งความปวดดังกล่าวลดลงเพียงเล็กน้อยหรือไม่บรรเทาลงเลยเนื่องจากยาไม่มีประสิทธิภาพในการรักษา งานวิจัยของเราทำการศึกษาเพื่อพัฒนายาใหม่ที่ออกฤทธิ์ต่ออาการปวดเรื้อรังโดยการปิดกั้นยีน HCN2


                อาการปวดปลายประสาทแบบเรื้อรัง ถือเป็นภาระทางสุขภาพอย่างมากของโลก คิดเป็นมูลค่าประมาณ 200 พันล้านยูโรต่อปีในยุโรปและประมาณ 150 พันล้านเหรียญสหรัฐต่อปีในสหรัฐอเมริกา จากการศึกษาพบว่าประมาณ 22 เปอร์เช็นต์ของผู้มีอาการปวดแบบเรื้อรังจะเกิดอาหารหดหู่และประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์นำไปสู่การตกงาน
                นักวิจัยรู้จักยีน HCN2 ซึ่งพบที่ปลายประสาทที่ไวต่อความรู้สึกปวดมาเป็นเวลาหลายปีแล้ว แต่ไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ในการควบคุมอาการปวดมากพอ เนื่องจากยีนที่มีความสัมพันธ์กันที่เรียกว่า HCN4 มีหน้าที่สำคัญในการควบคุมกระแสไฟฟ้าของหัวใจ ทีมนักวิจัยของ McNaughton ตั้งข้อสงสัยว่ายีน HCN2 อาจมีบทบาทคล้ายกันในการควบคุมกระแสไฟฟ้าของเส้นประสาทที่ไวต่อความเจ็บปวดนี้ด้วย
                ผลการศึกษาซึ่งได้ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์ฉบับวันพฤหัสบดีที่ 8 กันยายน 2011 รายงานว่า นักวิจัยได้ทำการเคลื่อนย้ายเอายีน HCN2 ออกจากเส้นประสาทที่ไวต่อความรู้สึกเจ็บปวด แล้วใช้กระแสไฟฟ้ากระตุ้นไปทีเส้นประสาทเหล่านี้ในจานเพาะเลี้ยงเพื่อค้นหาการเปลี่ยนแปลงของเส้นประสาทเมื่อนำเอายีน HCN2 ออกไป
                นักวิจัยได้ศึกษากับหนูทดลองที่ถูกดัดแปลงพันธุกรรมโดยกำจัดยีน HCN2 ออกไปและวัดอัตราความเร็วที่ถอนตัวออกจากสิ่งกระตุ้นความเจ็บปวดในรูปแบบต่างๆกัน  นักวิจัยแสดงให้เห็นว่าการกำจัดยีน HCN2 ออกไป ทำให้อาการเจ็บปวดหายไปได้ พวกเขาพบว่าการกำจัดยีน HCN2 ไม่มีผลต่ออาการปวดแบบเฉียบพลันปกติ  เช่น อาการเจ็บปวดที่เกิดจากแผลบาดตัวเองจากอุบัติเหตุ หรือการกัดลิ้นตัวเอง
                McNaughton กล่าวในแถลงข่าวผลการศึกษาของเขาว่าสิ่งที่น่าตื่นเต้นของการทำงานนี้ก็คือ การนำเอายีน HCN2 ออกไปหรือการปิดกั้นด้วยตัวยาเพื่อขจัดอาการปวดแบบเรื้อรังโดยไม่มีผลต่อความเจ็บปวดแบบปกติ  ซึ่งมีคุณค่าทางคลีนิกเนื่องด้วยความรู้สึกเจ็บปวดแบบปกติมีความจำเป็นสำหรับการหลีกเลี่ยงความเสียหายที่เกิดจากอุบัติเหตุ
                   อาการเจ็บปวดแบบเรื้อรังแตกต่างจากอาการเจ็บปวดจากการอักเสบ ซึ่งอาการปวดแบบเรื้อรังจะพบในคนไข้ที่เป็นโรคเบาหวาน ซึ่งมีผลกับคนทั่วโลกราว 280 ล้านคน อาการปวดแบบนี้ยังพบในคนที่เคยเป็นโรคงูสวัดและคนไข้โรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด และยังพบร่วมกับอาการปวดส่วนหลังตอนล่างและอาการปวดเรื้อรังชนิดอื่นๆด้วย


แหล่งที่มา : สำนักข่าวรอยเตอร์ประจำกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ: 8 กันยายน 2554

14 September 2011

ใบสมัครรับทุน

    
    
รูปถ่าย
2 นิ้ว
ฉากหลัง
สีขาว

                                                   



     ใบสมัครรับทุน
ระดับปริญญาโท  วิศวกรรมอวกาศ (Satellite Engineering)
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) สทอภ.
เพื่อเข้าศึกษาในสาขา Software Engineering, Telecommunication Engineering, Electronics Engineering
(กรุณากรอกข้อความตัวบรรจง)
คำนำหน้าชื่อ              :         ð  นาย          ð  นางสาว       ð  นาง        ð  อื่นๆ ........................................
ชื่อ-สกุล (ภาษาไทย)      :                                                                                              
ชื่อ-สกุล (ภาษาอังกฤษ):                                                                                                 
เลขประจำตัวประชาชน:                                        วัน-เดือน-ปีเกิด :                                     
ชื่อ-สกุล บิดา              :                                                                                              
ชื่อ-สกุล มารดา :                                                                                                        
ชื่อ-สกุล พี่น้องร่วมบิดา-มารดาเดียวกัน :                                                                              
                                                :                                                                           
หมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อสะดวก  :                                                                                     
หมายเลขโทรสาร         :                                               E- mail :                                   
ที่อยู่ที่ติดต่อสะดวก        :                                                                                              

ประวัติการศึกษา
สถาบันการศึกษา
สาขาวิชา
คะแนนเฉลี่ย
มัธยมศึกษาตอนปลาย



ปริญญาตรี



ปริญญาโท




สถานที่ทำงานปัจจุบัน    :                                                                                              
                             :                                                                                              
ชื่อผลงานวิจัย หรือเอกสารที่เคยตีพิมพ์:                                                                                
                                      :                                                                                     
                                      :                                                                                     
ผลการสอบภาษาอังกฤษ  :         ð  TOEFL                 ð  TOEIC                 ð  CU-TEP
คะแนนที่สอบได้           :                                                                                     
ข้าพเจ้า                                                      ขอรับรองว่าข้อความข้างต้นเป็นความจริงทุกประการ
                                                                   ลงชื่อ                                                 
                                                                             (                                               )
                                                                   วันที่      เดือน            พ.ศ.